ประชากร
๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร ย้อนหลัง ๓ ปี
ข้อมูล |
ปี ๒๕๖๐ |
ปี ๒๕๖๑ |
ปี ๒๕๖๒ |
ประชากรทั้งหมด (คน) |
๗,๐๔๑ |
๖,๙๖๔ |
๗,๐๑๖ |
จำนวนหลังคาเรือนทั้งหมดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ(ครัวเรือน) |
๓,๖๕๗ |
๓,๖๘๐ |
๓,๗๑๖ |
ความหนาแน่นของประชากร (คน / ตารางกิโลเมตร) |
๑,๕๖๕ |
๑,๕๔๘ |
๑,๕๕๙ |
๓.๒ ช่วงอายุและจำนวนประชากร ย้อนหลัง ๓ ปี
ช่วงอายุ |
ปี ๒๕๖๐ |
ปี ๒๕๖๑ |
ปี ๒๕๖๒ |
ชาย |
หญิง |
ชาย |
หญิง |
ชาย |
หญิง |
น้อยกว่า ๒ ปี |
๗๗ |
๖๐ |
๖๑ |
๔๓ |
๗๐ |
๕๔ |
๒-๓ ปี |
๖๖ |
๗๓ |
๗๙ |
๗๗ |
๘๕ |
๗๐ |
๔-๑๒ ปี |
๓๕๒ |
๓๑๙ |
๓๒๐ |
๓๐๗ |
๓๐๙ |
๓๐๒ |
๑๓-๑๘ ปี |
๒๓๒ |
๒๔๕ |
๒๔๙ |
๒๓๑ |
๒๕๔ |
๒๒๒ |
๑๙-๒๔ ปี |
๒๖๙ |
๒๔๙ |
๒๖๖ |
๒๔๓ |
๒๕๖ |
๒๔๓ |
๒๕-๕๙ ปี |
๑,๗๓๖ |
๑,๘๘๙ |
๑,๖๗๒ |
๑,๘๘๘ |
๑,๖๘๑ |
๑,๘๗๐ |
๖๐ ปีขึ้นไป |
๗๑๗ |
๗๕๗ |
๗๔๓ |
๗๘๕ |
๗๗๕ |
๘๒๕ |
รวม |
๓,๔๔๙ |
๓,๕๙๒ |
๓,๓๙๐ |
๓,๕๗๔ |
๓,๔๓๐ |
๓,๕๘๖ |
(ข้อมูลเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๒ / งานทะเบียนราษฎร)
สภาพทางสังคม
๔.๑ การศึกษา
-
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลตำบลมวกเหล็ก จำนวน ๒ แห่ง
-
ระดับปฐมวัย
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จำนวน ๑ แห่ง
คือ โรงเรียนอนุบาลมวกเหล็ก
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน ๒ แห่ง
๑. โรงเรียนรอดณรงค์ศึกษา
๒. โรงเรียนพีระวิทยา
-
ระดับประถมศึกษา
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จำนวน ๑ แห่ง
คือ โรงเรียนอนุบาลมวกเหล็ก
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน ๒ แห่ง
๑. โรงเรียนรอดณรงค์ศึกษา
๒. โรงเรียนพีระวิทยา
-
ระดับมัธยมศึกษา
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จำนวน ๑ แห่ง
คือ โรงเรียนมวกเหล็กวิทยา
-
ระดับอาชีวศึกษา
-
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา จำนวน ๑ แห่ง
คือ วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก
๔.๒ ด้านสาธารณสุข
๑. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐในเขตเทศบาลตำบลมวกเหล็ก คือ โรงพยาบาลมวกเหล็ก
๒. สถานบริการสาธารณสุขเอกชน ประกอบด้วย
- คลินิก ๓ แห่ง
- ร้านขายยา ๘ แห่ง
๓. สถานที่ออกกำลังกาย
- สนามกีฬาเอนกประสงค์ ๓ แห่ง
- ลานเครื่องออกกำลังกายกลางแจ้ง ๓ แห่ง
- ศูนย์ออกกำลังกาย(ฟิตเน็ต) ๑ แห่ง
- สนามเด็กเล่น ๓ แห่ง
๔.๓ ด้านอาชญากรรม
๑. สถานีตำรวจภูธรมวกเหล็ก
๒. เทศบาลตำบลมวกเหล็กมีหน่วยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สังกัดสำนักปลัดเทศบาลตำบลมวกเหล็กไว้คอยให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนในเขตเทศบาล โดยมีอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ ได้แก่
รถยนต์บรรทุกน้ำดับเพลิงแบบเอนกประสงค์ จำนวน ๕ คัน แยกเป็น
(แยกตามขนาดความจุน้ำ)
- คันที่ ๑ ความจุน้ำ ๑๒,๐๐๐ ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕
- คันที่ ๒ ความจุน้ำ ๔,๕๐๐ ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘
- คันที่ ๓ ความจุน้ำ ๖,๐๐๐ ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑
- คันที่ ๔ ความจุน้ำ ๑๒,๐๐๐ ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑
- คันที่ ๕ ความจุน้ำ ๑๒,๐๐๐ ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔
-
เครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม จำนวน ๑ เครื่อง (ชำรุด)
-
พนักงานดับเพลิง จำนวน ๒๘ คน
-
อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จำนวน ๒๗๙ คน
-
มีระบบกล้องวงจรปิดภายในเขตเทศบาล จำนวน ๖๒ จุด
- ใช้งานได้ จำนวน ๓๓ จุด
- ชำรุด จำนวน ๒๙ จุด
๔.๔ ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของเทศบาล พบว่าในเขตเทศบาลมีผู้ที่ติดยาเสพติด การแก้ไขปัญหาของเทศบาล เช่น การณรงค์ประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ และส่งเข้ารับการบำบัดยาเสพติด
๔.๕ การสังคมสังเคราะห์
เทศบาลได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์โดยจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ ประสานการทำบัตรผู้พิการ การช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง และช่วยเหลือปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน ผู้มีรายได้น้อย
-
ระบบบริการพื้นฐาน
๕.๑ การคมนาคมขนส่ง
- ระบบขนส่งทางรถไฟ ๑ สถานี ได้แก่ สถานีรถไฟมวกเหล็ก
- ถนนภายในเขตเทศบาล จำนวน ๖๓ สาย แยกเป็น
ถนนคอนกรีต ๔๒ สาย
ถนนลาดยาง ๒๔ สาย
ถนนลูกรัง ๓ สาย
- สะพาน ๓ แห่ง
๕.๒ การไฟฟ้า
- จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า ๓,๑๔๗ ครัวเรือน
- พื้นที่ที่ได้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ ๙๙ ของพื้นที่ทั้งหมด
- ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าส่องสว่าง) ครอบคลุมถนนทุกสาย
๕.๓ การประปา
การประปาส่วนภูมิภาค สาขามวกเหล็ก
- แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปา (คลองมวกเหล็ก) ๑ แห่ง
- น้ำประปาที่ผลิต ๘,๕๙๒ ลูกบาศก์เมตร / วัน
- น้ำประปาที่ใช้ ๖,๙๑๔ ลูกบาศก์เมตร / วัน
- จำนวนครัวเรือนที่ใช้ประปา ๒,๕๔๒ ครัวเรือน
๕.๔ โทรศัพท์
- เลขหมายโทรศัพท์ในเขตเทศบาลฯ ๑,๐๐๐ เลขหมาย
- โทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ ๑๐ ตู้
- ชุมสายโทรศัพท์ในเขตพื้นที่ ๒ ชุมสาย
(บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน และบริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด มหาชน)
- ระบบเสียงไร้สายในพื้นที่ให้บริการครอบคลุมร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่
๕.๕ ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
ที่ทำการไปรษณีย์มวกเหล็ก จำนวน ๑ แห่ง ให้บริการ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ในวันจันทร์ – เสาร์ (วันเสาร์ครึ่งวัน) หยุดวันอาทิตย์
ขนส่งเอกชน จำนวน ๑ แห่ง ให้บริการ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ในวันจันทร์ – เสาร์ หยุดวันอาทิตย์
๖. ระบบเศรษฐกิจ
๖.๑ การท่องเที่ยว
๑. เทศบาลตำบลมวกเหล็ก มีแหล่งท่องเที่ยว ๑ แห่ง ได้แก่ น้ำตกมวกเหล็ก ซึ่งเป็นคลอง
ที่มีแก่งหินอยู่กลางน้ำไหลเป็นเชิงชั้น ที่กั้นระหว่าง อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี และอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา มีต้นน้ำในป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งเป็นน้ำผุดจากใต้ดิน ทำให้มีน้ำไหลตลอดทั้งปี ไหลลงสู่แม่น้ำป่าสัก และมีพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับนานาชนิดสวยงามมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวเป็นจำนวนมาก
๒. ช่วงปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาวประมาณเดือน ตุลาคม - มกราคมของทุกปี จัดให้มีการปลูกต้นทานตะวันเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งในเขตและนอกเขตเทศบาลเป็นประจำทุกปี
๖.๒ การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
- ธนาคาร ๖ แห่ง
- สถานีบริการน้ำมัน ๑ แห่ง
- ตลาดสด ๑ แห่ง
- ตลาดโต้รุ่ง ๓ แห่ง
- ตลาดนัด ๓ แห่ง
- ร้านค้าทั่วไป ๒๑๐ ร้าน
- กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรมวกเหล็ก ๑ แห่ง
๖.๓ แรงงาน
ประชากรในเขตเทศบาลตำบลมวกเหล็ก ประกอบอาชีพค้าขายและรับจ้างเป็นส่วนมาก และบางส่วนมีการปศุสัตว์เลี้ยงโคนมและโคเนื้อ
๗. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๗.๑ การนับถือศาสนา
ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๘ และมีผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ ๒
วัด ๑ แห่ง
คริสตจักร ๑ แห่ง
ศาลเจ้าพ่อมวกเหล็ก ๑ แห่ง
๗.๒ ประเพณีและงานประจำปี
เทศบาลตำบลมวกเหล็กมีขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และการละเล่นพื้นเมือง
ที่สำคัญที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณถึงปัจจุบัน ได้แก่
{ ตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ เดือนมกราคม กิจกรรมโดยสังเขป ทำบุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง
{ สงกรานต์ เดือนเมษายน กิจกรรมโดยสังเขป สรงน้ำพระ , รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ
{ เข้าพรรษา เดือนกรกฎาคม กิจกรรมโดยสังเขป แห่เทียนพรรษา
{ ลอยกระทง เดือนพฤศจิกายน กิจกรรมโดยสังเขป ประกวดนางนพมาศ , หนูน้อย นพมาศ, ประกวดกระทง
๗.๓ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
โดยมีสินค้าที่สร้างชื่อเสียง ได้แก่ นมสด เนื้อ หมูหวานเค็ม ขนมกะหรี่ปั๊บ องุ่นสด และ
น้ำองุ่น
๘. ทรัพยากรธรรมชาติ
๘.๑ น้ำ ทรัพยากรน้ำ แหล่งน้ำดิบที่สำคัญสำหรับผลิตน้ำประปาของเทศบาลตำบลมวกเหล็ก
คือ คลองมวกเหล็ก ซึ่งนอกจากจะใช้อุปโภค–บริโภค แล้วยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของเทศบาลตำบลมวกเหล็กด้วย
๘.๒ ป่าไม้ ทรัพยากรป่าไม้ในเขตเทศบาลตำบลมวกเหล็กมีพื้นที่ป่าไม้อยู่ในสวนรุกขชาติ ซึ่ง
เป็นแหล่งท่องเที่ยวและอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนหรือนักท่องเที่ยวได้ไปพักผ่อนหย่อนใจ
๘.๓ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ของเทศบาลส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ คลองมวกเหล็ก ปัญหาคือการปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองมวกเหล็ก ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น
การกำจัดขยะ
เดิมเทศบาลตำบลมวกเหล็ก มีสถานที่กำจัดขยะตั้งอยู่ที่ตำบลมิตรภาพ โดยได้รับการบริจาคที่ดินให้แก่เทศบาลตำบลมวกเหล็ก จำนวน ๒๐ ไร่ สถานที่ตั้งอยู่ห่างจากเทศบาลฯระยะทาง ๕ กิโลเมตร เทศบาลฯดำเนินการกำจัดขยะที่เก็บขนได้ จำนวน ๑๐ ตัน/วัน โดยวิธีขุดหลุมรองรับ เทกองบนพื้นและฝังกลบ โดยมีรถยนต์ที่ใช้จัดเก็บขยะ แยกตามขนาดความจุของขยะ ๖ และ ๑๕ ลูกบาศก์เมตร รวม ๒ คัน
ในปัจจุบันเทศบาลตำบลมวกเหล็ก ได้จัดทำบันทึกข้อตกลงการใช้ใช้บริการการกำจัดขยะมูลฝอยของบริษัท ทีพีไอ โพลีน (มหาชน) จำกัด ที่มีระบบกำจัดขยะที่ได้มาตรฐาน อีกทั้งยังเกิดประโยชน์ในการใช้ขยะ มูลฝอยนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ขยะบางส่วนที่ไม่สามารถนำไปกำจัดที่บริษัท TPI ได้ เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ วัสดุก่อสร้าง ได้นำไปกำจัดสถานที่กำจัดขยะของเทศบาลตำบลมวกเหล็ก
๙. อื่นๆ
๙.๑ การบริหารราชการ ปัจจุบันเทศบาลตำบลมวกเหล็ก แบ่งส่วนการบริหารราชการ ดังนี้
-
สำนักปลัดเทศบาล
-
กองคลัง
-
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
-
กองช่าง
-
กองการศึกษา
-
กองวิชาการและแผนงาน
-
กองสวัสดิการสังคม
|